Asd

วันเสาร์ที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2552

พระนารท ฤษีนารอท

Sri Narada Muni

พระนารอท

พระฤษีนารท ก็ชื่อภาษาอืนเดียว่า นาโรดะ ปราก ดอยู่ทั้งในคำภีร์ ภควาตะปุรานะ และ รามยานะ เหาะในอากาสได้ (ซึ่งเป็นผลของการเข้าอรูปฌานและปิติ5 - เป็นผู้ประดิษฐ์ เครื่องบรรเลงซึ่งเรียกว่า พิณ (ภาษาฮินดูว่า Vina) ดนตรีที่ท่านได้แต่งก็ใช้ควบกับการท่องคาถาอาคม และสวดบทสรรเสริญเทพเทวา วึ่ง ส่วนใหญ่ ท่านก็จะอุทิศให้พระนารายณ์นะครับ. พระฤาษีนารท ก็เชี่ยวชานในการบัญญัติกฏหมายอีกด้วยนะครับ
นักเล่นดนตรีและศิลปินร้อง เพลงแต่งเพลงก็นับถืบูชาพระนารอทกันเป็นครูบาอาจารย์ พระนารท ก็มีชื่ออื่น ว่า มานัสบุตร Manasabutra (โทษทีว่า อาตมาไม่ทราบว่าสะกดตัวอย่างไรเป็นภาษาไทยครับ)

เป็นฤาษีชั้นเทพ (เทวฤษี), เรียกว่า “มหาฌาน”

อย่าลืมว่า ศาสนาพราหมร์กับพุทธก็ไม่ไช่สิ่งเดี่ยวกันครับ พระพุทธศาสนาไทยก็ชอบเอาของพราหมณื (เทพนิยม) มาแทรกในศาสนาพุทธ เป็นการบูชาเทพทีต้องเวียนว่ายตายเกิด เป็นสรณะ ที่แท้จริงก็ไม่ใช่นะครับ แตพระพุทธองค์ก็ไม่ได้ห้ามนะครับ การบูชาพวกพระฤษีก็คือการบูชาคนที่ตายแล้วนัครับ อันว่า บุคคลก็คือสังขาร ซึ่งเป็น อนิจจัง (ทุกขัง และ อนัตตา) นะคับ
อีกอย่างนึงก็คือ การบูขาวิญญานผีนะครับ คนที่บูชาครูที่เราไม่ได้ทราบจริงว่า ท่านคือใครจริง ก็มีอันตรายที่ว่า อาจคิดว่าพวกท่านก็คุ้มครองเราในระหว่างที่เรามีชีวิตอยู่ แต่พอเราก็ตายแล้วดับสังขารก็อาจตกเป็นบ่าวทาสเค้า ก็เป็นไปได้นะครับ
ขอใช้สามาญสำนึก และวิจารณญานในการเลือกสิ่งที่เราจะนิยมบูชาและรับใช้นะคับ
ขอ ให้ชาวพุทธอย่าลืมกันว่า สิ่งที่ได้มีเป็นที่พึ่งที่ถาวรและจะพาเราไปสวรรค์ ก็คือ พระพุทธพระธรรมพระสงฆ์ บวกการพระพฤติตัวในศีลปฏิบัติธรรมนะครับ
สัตว์ที่ ได้บำเพญตบะฌานสมาบัติได้ฤทธิ์ก็ไม่จำเป็นว่าเป็นคนอยู่ในศีล ว่าฌานก็มาจาก จิตวิสุทธิ์มากกว่าศีลวิสุทธิ ก็ยังโกรธลงมือทำปาบแล้วตกนรกได้นะครับ
แต่ว่า การประพฤติพรหมมจรรย์ก็พาไปแต่สวรรค์นะคับ
ฤทธ์ สามารถเกิดได้กับนักปฏิบัติทังสองฝ่ายได้ แต่การเล่นของอย่างไม่มีการถือศีลก็ไปนรกได้ง่ายนะครับ ต้องมีความบริสุทธิ์ในการปฏิบัติธรรม ถึงจะเป็นการบูขาครูที่พาไปสวรรค์ได้อย่างแน่นอนครับ
ขออัภัยในการวิ เคราะวิจารย์ด้วยนะคับ ว่า ตัวอาตมาได้ศึกษาเรื่องนี้เป็นอย่างมากแล้วก็ห่วงเกี่ยวกะเรื่องนี้ ว่าสาธุชนก็ชอบบูชาเหล่าเทพโดยไม่สืบสานก่อนว่า ท่านครูคนนั้น ก็คือใคร .. ที่มา ฯฯ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น